รวบรวมโดย บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย
1. กระบวนการเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปะการแสดงของหมอลำอาชีพ
(จิราวัลย์ ซาเหลา,
2546)
อ้างอิง
จิราวัลย์ ซาเหลา.
(2546). กระบวนการเรียนรู้และถ่ายทอดศิลปะการแสดงของหมอลำอาชีพ.
วิทยานิพนธ์. กศ.ม. (การศึกษานอกระบบ): มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. |
2. กลอนลำของหมอลำสุทธิสมพงษ์ สะท้านอาจ (คงฤทธ์ แข็งแรง,
2537)
อ้างอิง
คงฤทธ์ แข็งแรง. (2537). กลอนลำของหมอลำสุทธิสมพงษ์ สะท้านอาจ.
ปริญญานิพนธ์.
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกไทยคดีศึกษา (เน้นมนุษยศาสตร์): มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. |
3. การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
เรื่อง หมอลำกลอนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียนม่วงหวานพัฒนาศึกษา จังหวัดขอนแก่น (เอื้อมเดือน ถิ่นปัจจา,
2548)
อ้างอิง
เอื้อมเดือน ถิ่นปัจจา.
(2548). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
เรื่อง หมอลำกลอนสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 3 โรงเรียนม่วงหวานพัฒนา
ศึกษา จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์. ปริญญาศึกษาสารทมหาบัณฑิต สาขาหลักสูตร และการสอน: มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
4. การรักษาพยาบาลแบบพื้นบ้าน: กรณีศึกษาหมอลำผีฟ้า
บ้านหนองใหญ่ อำเภอแวงน้อย จังหวัดขอนแก่น (มาริโกะ กาโตะ,
2538)
อ้างอิง
มาริโกะ กาโตะ. (2538). การรักษาพยาบาลแบบพื้นบ้าน: กรณีศึกษาหมอลำผีฟ้า
บ้านหนองใหญ่
อำเภอแวงน้อย จังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต.
สาขาสังคมวิทยาการพัฒนา: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
|
5. การลำผีฟ้าในเขตอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม (ชัยยนต์ เพาพาน,
2533)
อ้างอิง
ชัยยนต์ เพาพาน.
(2533). การลำผีฟ้าในเขตอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
ปริญญานิพนธ์.
ปริญญาศิลปะศาสตร์มหาบัณฑิต วิชาเอกไทยคดีศึกษา (เน้นมนุษยศาสตร์): มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม. |
6. ศึกษาวิเคราะห์กลอนลำของหมอลำเคน
ดาเหลา เชิงสุนทรียศาสตร์ (พระสุระศักดิ์ หวานแท้, 2555)
อ้างอิง
พระสุระศักดิ์ หวานแท้.
(2555). ศึกษาวิเคราะห์กลอนลำของหมอลำเคน
ดาเหลา
เชิงสุนทรียศาสตร์. วิทยานิพนธ์.
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา:
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. |
7. การวิเคราะห์บทหมอลำเรื่องต่อกลอน (ปริญญา ป้องรอด,
2544)
อ้างอิง
ปริญญา ป้องรอด.
(2544). การวิเคราะห์บทหมอลำเรื่องต่อกลอน.
วิทยานิพนธ์.
ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ไทยศึกษา): มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
8. การศึกษาวิธีการร้อง “หมอลำ” ของฉวีวรรณ ดำเนิน. (วินัย ใจเอื้อ,
2446)
อ้างอิง
วินัย ใจเอื้อ.
(2546). การศึกษาวิธีการร้อง
“หมอลำ” ของฉวีวรรณ ดำเนิน. ปริญญานิพนธ์ ศปม.
(มานุษยดุริยางควิทยา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทวิโรฒ. |
9. การศึกษาลำผู้ไทย หมู่บ้านโพนสวาง ตำบลกุดสิมคุ้มใหม่ อำเภอเขาวง
จังหวัดกาฬสินธุ์
(พิไลลักษณ์ สานคำ,
2555)
อ้างอิง
พิไลลักษณ์ สานคำ. (2555). การศึกษาลำผู้ไทย หมู่บ้านโพนสวาง ตำบลกุดสิมคุ้มใหม่
อำเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ์. ปริญญานิพนธ์. ปริญญาศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. สาขามานุษยดุริยางควิทยา: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. |
10. ชีวิต ผลงาน บทบาทต่อสังคม และอัตลักษณ์ของหมอลำสำอาง เจียงคำ
บ้านขามเรียง
อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดหมาสารคาม (ปริยัติ นามสง่า,
2553)
อ้างอิง
ปริยัติ นามสง่า.
(2553). ชีวิต ผลงาน บทบาทต่อสังคม
และอัตลักษณ์ของหมอลำสำอาง เจียงคำ
บ้านขามเรียง อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดหมาสารคาม. ปริญญานิพนธ์. ปริญญาศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. สาขามานุษยดุริยางควิทยา: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. |
11. ผญา-วาทกรรมแห่งภูมิปัญญาอีสาน:
การตีความเชิงจริยปรัชญา (ฉลอง พันธ์จันทร์, 2552)
อ้างอิง
ฉลอง
พันธ์จันทร์. (2552). ผญา-วาทกรรมแห่งภูมิปัญญาอีสาน:
การตีความเชิงจริยปรัชญา.
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา): มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. |
12. ภาพสะท้อนของสังคมอีสานจากกลอนลำของหมอลำเคน ดาเหลา (โอสถ
บุตรมารศรี, 2538)
อ้างอิง
โอสถ บุตรมารศรี.
(2538). ภาพสะท้อนของสังคมอีสานจากกลอนลำของหมอลำเคน ดาเหลา.
ปริญญานิพนธ์. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกไทยคดีศึกษา (เน้นมนุษยศาสตร์): มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. |
13. ภาพสะท้อนสังคมอีสานซึ่งปรากฏในบทเพลงที่พรศักดิ์ ส่องแสงขับร้อง (รุ่งสุริยา เมืองเหลา, 2537)
อ้างอิง
รุ่งสุริยา เมืองเหลา.
(2537). ภาพสะท้อนสังคมอีสานซึ่งปรากฏในบทเพลงที่พรศักดิ์ ส่องแสง
ขับร้อง. ปริญญานิพนธ์. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกไทยคดีศึกษา (เน้นมนุษยศาสตร์): มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. |
14. ภูมิปัญญาทางคีตศิลป์ของหมอลำ ป.ฉลาดน้อย
(ชัยนาทร์ มาเพ็ชร,
2545)
อ้างอิง
ชัยนาทร์ มาเพ็ชร.
(2545). ภูมิปัญญาทางคีตศิลป์ของหมอลำ
ป.ฉลาดน้อย.
ค้นคว้าอิสระ.
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกไทยคดีศึกษา (เน้นมนุษยศาสตร์): มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. |
15. ลำซิ่ง:
ลำกลอนแนวใหม่ของอีสาน (นันท์รวี ขันผง, 2537)
อ้างอิง
นันท์รวี ขันผง. 2537.
ลำซิ่ง: ลำกลอนแนวใหม่ของอีสาน.
ปริญญานิพนธ์.
ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกไทยคดีศึกษา (เน้นมนุษยศาสตร์): มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. |
16. วรรณกรรมกลอนลำของหมอลำทองสา สามสี บ้านนาโส ตำบลนาโส อำเภอกุดชุม
จังหวัดยโสธร (สุภาภรณ์ มาตขาว,
2546)
อ้างอิง
สุภาภรณ์ มาตขาว.
(2546). วรรณกรรมกลอนลำของหมอลำทองสา สามสี บ้านนาโส
ตำบลนาโส อำเภอกุดชุม จังหวัดยโสธร. วิทยานิพนธ์. ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย: มหาวิทยาลัยนเรศวร. |
17. วิเคราะห์องค์ประกอบทางวรรณกรรมของเพลงหมอลำในรอบทศวรรษ
(พ.ศ. 2522-2531)
(กฤษฎา ศรีธรรมมา,
2534)
อ้างอิง
กฤษฎา ศรีธรรมมา, 2534. วิเคราะห์องค์ประกอบทางวรรณกรรมของเพลงหมอลำในรอบ
ทศวรรษ (พ.ศ. 2522-2531). ปริญญานิพนธ์. ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต วิชาเอกภาษาไทย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
18. หมอลำกลอน:
บริบท คุณค่า แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและการดำรงอยู่ในประเทศไทย
และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (สุวิทย์ รัตนปัญญา, 2553)
อ้างอิง
สุวิทย์ รัตนปัญญา.
(2553). หมอลำกลอน:
บริบท คุณค่า แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและการดำรง
อยู่ในประเทศไทย และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์. สาขาวิชา ยุทธศาสตร์การพัฒนาภูมิภาค: มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย. |
19. ศึกษาวิเคราะห์หลักธรรมของพระพุทธศาสนาในวรรณกรรมอีสานเรื่อง
สังข์ศิลป์ชัย (พระครูธรรมสารสุมนณฑ์
(คำพัน ญาณวิโร),
2547)
อ้างอิง
พระครูธรรมสารสุมนณฑ์
(คำพัน ญาณวิโร). (2547). ศึกษาวิเคราะห์หลักธรรมของ
พระพุทธศาสนาในวรรณกรรมอีสานเรื่อง สังข์ศิลป์ชัย. วิทยานิพนธ์. พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (พระพุทธศาสนา): มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. |
20. หมอลำสีพันดอน:
กรณีศึกษาคณะทองบาง แก้วสุวัน เมืองปากเซ แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(กฤษฎา สุขสำเนียง, 2549)
อ้างอิง
กฤษฎา สุขสำเนียง.
(2549). หมอลำสีพันดอน:
กรณีศึกษาคณะทองบาง
แก้วสุวัน เมืองปากเซ
แขวงจำปาศักดิ์ ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วิทยานิพนธ์. ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาดนตรีชาติพันธุ์วิทยา (ดนตรีชาติพันธุ์วิทยา): มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
21. การบริหารจัดการโรงเรียนหมอลำ ของแม่ครูราตรี ศรีวิไล (บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย, 2554)
อ้างอิง
บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย.
(2554). การบริหารจัดการโรงเรียนหมอลำ
ของแม่ครูราตรี ศรีวิไล.
ค้นคว้าอิสระ ศษ.ม.
(การบริหารการศึกษา): มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
|
22. การวิเคราะห์บทร้องและทำนองสรภัญญ์อีสาน (บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย, 2555)
อ้างอิง
บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย.
(2555). การวิเคราะห์บทร้องและทำนองสรภัญญ์อีสาน.
วิจัย.
บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. |
23. อัตลักษณ์ของลำกลอนทำนองขอนแก่น (บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย, 2556)
อ้างอิง
บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย.
(2556). อัตลักษณ์ของลำกลอนทำนองขอนแก่น.
วิจัย.
บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. |
24. การวิเคราะห์บทลำเรื่องต่อกลอนทำนองขอนแก่น : กรณีศึกษา
หมอลำอร่าม มุงคำภา บ้านหนองแสง ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น (บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย, 2557)
อ้างอิง
บุญจันทร์ เพชรเมืองเลย.
(2557). การวิเคราะห์บทลำเรื่องต่อกลอนทำนองขอนแก่น : กรณีศึกษา
หมอลำอร่าม มุงคำภา บ้านหนองแสง ตำบลพระลับ อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น. วิจัย. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. |